KM RSU Art and Design คณะศิลปะและการออกแบบ

KM RSU Art and Design
ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน 
คณะศิลปะและการออกแบบ  มหาวิทยาลัยรังสิต
ถอดประสบการณ์ความรู้ และคุณสมบัติผู้ที่จะมาถอดความรู้
คุณสมบัติของผู้ที่จะมาถอดความรู้
http://isdc.rsu.ac.th/km/files/skill.pdf
ฟอร์มสำหรับถอดความรู้
http://isdc.rsu.ac.th/km/files/km_form.docx
ตัวอย่างแบบถอดประสบการณ์ความรู้ทั้ง 6 ด้าน
http://isdc.rsu.ac.th/km/knowledgebase/detail/32
Knowledge Base
คู่มือการสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันและถอดความรู้-ประสบการณ์การเรียนรู้ http://isdc.rsu.ac.th/km/files/km_manual.pdf
ตัวอย่างการเขียนแบบถอดประสบการณ์การเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ด้านเทคนิคการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
http://itwiz.rsu.ac.th/…/wp-cont…/uploads/2013/02/group1.pdf
ด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
http://itwiz.rsu.ac.th/…/wp-cont…/uploads/2013/02/group2.pdf
ด้านการยึดมั่นคุณธรรม
http://itwiz.rsu.ac.th/…/wp-cont…/uploads/2013/02/group3.pdf
ด้านการบริหารจัดการที่เป็นเลิศการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เน้นหลักประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
http://itwiz.rsu.ac.th/…/wp-cont…/uploads/2013/02/group4.pdf
ด้านการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
http://itwiz.rsu.ac.th/…/wp-cont…/uploads/2013/02/group5.pdf

International Conference on Knowledge Management

ICKM 2016, Oct. 34, Vienna
ARTS, CRAFT, AND SCIENCES
CALL FOR CONTRIBUTIONS
The wellestablished ICKM conference series is the number one meeting point for the growing community of researchers and practitioners in the area of Knowledge Management (KM). Production and service industry is exposed increasingly to challenges that occur dynamically, driven by external forces and internal innovation, however, significantly affecting valuecreating processes. In order to remain agile, organizations need continuously reflect and renew of work practice and stakeholder relationships. Knowledge needs to be generated and structured for dynamic adaptation according to various stakeholder needs and their capability of collectively designing systems.
ICKM 2016 provides the forum to continue the dialogue between knowledge management academia and practice for handling these challenges through innovate concepts and techniques. This conference attracts leading edge work that leverages understanding demands and learning to create antifragile organizational settings featuring the dynamic development of organizations. The aim is to stimulate research and development in various phases and functional areas of knowledge management.
The event will promote interdisciplinary approaches from work and cognitive science, computer science and information systems, as well as business, management and organization science. Emphasis will be put on systematic reflections of learning steps related to knowledge creation, representation, and sharing, recognizing recent developments, such as
  •   Digital Business Transformation
  •   Dynamic Capability Development
  •   Agility and Certification
  •   Knowledge Visualization
  •   Social KM
  •   Deutero Learning
  •   KM Governance
  •   KM Architecture Management
  •   Crossorganizational KM
  •   Processoriented Knowledge Management
  •   KM in Industry 4.0
  •   KM in Large and International Organizations
  •   ValueBased KM
  •   KM Skill Deployment and Competencies Development
  •   KM and Innovation
  •   KM, Information Management and IT
page1image19472

A variety of submissions is invited:
  •   Research Papers as the way to present quality stateoftheart research in all related KM areas; for researchers with interest in KM and related areas this is a primary citation source. Submissions should not exceed 20 pages.
  •   Experience Reports for developers or users of KM systems having interesting evidence to share about a practical KM approach, product, solution, or application. Submissions should not exceed 15 pages.
  •   Capacity Building Workshops for trainers, teachers, or facilitators having done work of survey or wanting to share indepth educational knowledge with a broad audience. The education track is an excellent opportunity to share tutorial and methodological findings. The anticipated audience will consist of additional interested people from industry. Submissions should not exceed 5 pages plus demonstrational material. Each contribution should include empirical application evidence.
  •   Best Practice Demo or Forum: This track is for practical work that can be presented through handsonexperience or presentations to receive focused feedback. It is an opportunity to show KM cases, discuss and receive feedback from all participants. Submissions should not exceed one page plus technical installation requirements (if any).
  •   Gong Show Contributions: The Gong Show will consist of very short presentations about visionary and outrageous ideas towards the next generation of KM. The audience will vote for the best idea. If you have farreaching idea about either technology or novel use this is your opportunity to share, get feedback, and even win an award. The submission required is a 5page extended abstract indicating the originality of the approach.
  •   Young Researcher Networking Event Contributions: Master or PhD students in one of the above mentioned areas, either in early stage or late stage, are encouraged to share ideas with peers and receive feedback in a relaxed atmosphere with senior people from research and development communities. Supervisors of master or PhD students are kindly asked to encourage their respective student participation. The submission required is just a one page abstract reflecting the theme and status of the work.
page2image18128
We also plan keynotes to specific KM topics plus an interactive experience with artists and their work in Arts and KM. 

แผนแม่บทด้านการสนับสนุนส่งเสริมการวิจัยงานสร้างสรรค์และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2555-2559

ผู้รับผิดชอบ : ฝ่ายวิชาการและฝ่ายแผนพัฒนาและแผนการเงิน
            โดยสถาบันวิจัย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน และสำนักงานวางแผน

หลักการและเหตุผล :
แผนแม่บทด้านการสนับสนุนส่งเสริมการวิจัยงานสร้างสรรค์และนวัตกรรมมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2555-2559 เป็นการกำหนดแนวทางหรือนโยบายที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยรังสิตประจำปีการศึกษา ซึ่งมีเป้าประสงค์ที่จะมุ่งสร้างเสริม องค์ความรู้พื้นฐาน การวิจัยเพื่อพัฒนา การวิจัยประยุกต์ การวิจัยเพื่อการเรียนการสอน การวิจัยสถาบัน งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ให้กับบุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต ผ่านกระบวนการวิจัยที่ครอบคลุมศาสตร์ทุกสาขา เพื่อที่จะนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปใช้ในการเพิ่มศักยภาพด้านการวิจัย พัฒนาการสอน พัฒนาผลงานวิจัยที่มีคุณภาพที่ได้รับการรับรองทั้งระดับชาติและ ระดับนานาชาติ และขยายผลสู่การสร้างสรรค์ผลงาน ผลผลิต ที่ได้คุณภาพ สู่การต่อยอดเชิงพาณิชย์  จนถึงระดับที่สามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคอาเซียน  แผนแม่บทจะกำหนดกรอบแนวทางการสนับสนุน คณะ วิทยาลัย สถาบัน และหน่วยงาน ผ่านโครงการที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัย    เพื่อที่ คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติ และสามารถกำหนดแผนการปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับแนวทางการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย
แผนแม่บทการวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง  สามารถดำเนินการตามแผน ปฏิบัติการของ คณะ วิทยาลัย สถาบัน การติดตามแผนงานและประเมินผล  เพื่อป้องกัน แก้ไขและปรับปรุงความเสี่ยงด้านการวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย  รวมถึงการรายงานผลด้านการวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวมงานวิจัยของมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ :
1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ และบุคลากรทำงานวิจัย และสร้างสรรค์ และต่อยอดองค์
   ความรู้สู่ระดับการแข่งขันระดับชาติและนานาชาติ ในประเภทวิจัยองค์ความรู้ วิจัยและพัฒนา
   วิจัยด้านการเรียนการสอนและวิจัยสถาบัน
2. สนับสนุน ส่งเสริม การประสานงานด้านการวิจัย การจัดการความรู้จากงานวิจัย จัดระบบบริหาร
   และติดตามประเมินผลการวิจัย
3. สร้างเครือข่าย หน่วยงาน และบุคลากร ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจวิจัยของมหาวิทยาลัย
   ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง

ดาวน์โหลดเอกสารแผนแม่บทฉบับเต็ม  ดาวน์โหลด

ประเด็นความรู้เป้าหมาย 5 ด้าน

ประเด็นความรู้ซึ่งเป็นเป้าหมายในการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2555   มีทั้งสิ้น 5 ด้าน ดังนี้
  • ด้านเทคนิคการเรียนการสอน
  ประเด็นความรู้ที่ต้องการจัดการความรู้ คือ : เทคนิคการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
  ประเด็นความรู้ที่ต้องการจัดการความรู้ คือ : การเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 
  • ด้านเทคนิคการพัฒนาภาษาอังกฤษ
    ประเด็นความรู้ที่ต้องการจัดการความรู้ คือ : การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  • ด้านธรรมาธิปไตย
    ประเด็นความรู้ที่ต้องการจัดการความรู้ คือ : การยึดมั่นคุณธรรม
  • ด้านการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ
ประเด็นความรู้ที่ต้องการจัดการความรู้ คือ : การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เน้นหลักประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล