Abstract
Celadon glaze has been made since the ancient times. There are artifacts discovered and studied from various parts of old civilizations such as China , Korean ,Japan and Thailand. It is believed that the characteristic of this ceramic culture was set in China empire during Tsang’s Dynasty. The technique was passed though by generations and had influence on eastern and other western empire due to the uniqueness of the color, touch, and culture. Of course, ancient Sukhothai empire was introduced and it became production since then. The article gives details of history and specific glazing techniques. Characters of the glaze are also described in details.
Celadon glaze has been made since the ancient times. There are artifacts discovered and studied from various parts of old civilizations such as China , Korean ,Japan and Thailand. It is believed that the characteristic of this ceramic culture was set in China empire during Tsang’s Dynasty. The technique was passed though by generations and had influence on eastern and other western empire due to the uniqueness of the color, touch, and culture. Of course, ancient Sukhothai empire was introduced and it became production since then. The article gives details of history and specific glazing techniques. Characters of the glaze are also described in details.
เซลาดอน (Celadon)
เซลาดอน หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่เผาอุณหภูมิสูงประมาณ 1,250 องศาเซลเซียสขึ้นไป ผลิต
ภัณฑ์มีเนื้อแกร่ง เช่น สโตนแวร์ (Stoneware) และ พอร์สเลน (Porcelains) ที่เคลือบด้วยน้้าเคลือบสี
เขียวอ่อน สีเขียวอมฟ้า สีเขียวอมเทา สีเขียวอมน้้าตาล สีเขียวเข้ม และมักมีรอยรานปรากฏอยู่ในผิว
เคลือบเสมอ ค้าว่า “เซลาดอน” อาจมีที่มาจากการเลียนแบบสีของหยก ซึ่งชาวจีนถือว่า หยกเป็นอัญ
มณีล้้าค่า คู่ควรแก่การเป็นเครื่องประดับของกษัตริย์ ซึ่งภาชนะเคลือบเซลาดอนของจีนในยุคแรก
จะมีใช้เฉพาะในราชส้านักเท่านั้น ทางแถบตะวันตกเชื่อกันว่า ชื่อนี้ได้มาจากชื่อของตัวละครที่เล่น
เป็นคนเลี้ยงแกะที่ชื่อ เซลาดอนซึ่งสวมเสื้อคลุมสีเขียวอมเทาในเรื่อง D’Urfe’s Romance ของ
Astree ซึ่งเป็นละครที่ได้รับความนิยมมากใน คริสศตวรรษที่ 17 และเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ เคลือบ
สีเขียวดุจหยกของจีนก้าลังเป็นที่นิยมอย่างมากในยุโรป คุณประดิษฐ์ ศรีวิชัยนันท์ กล่าวว่า ทาง
เชียงใหม่ เชื่อว่า เซลาดอน มาจากค้าว่า “ศิลา” ที่แปลว่า หิน รวมกับค้าว่า “ดล” ซึ่งเป็นค้าในภาษา
สันสกฤต แปลว่า “เคลือบบนหิน” หรือ “เคลือบหิน” ก็น่าฟังเพราะ เซลาดอนจัดอยู่ในประเภท
เครื่องหิน (Stoneware) ที่เผาด้วยอุณหภูมิสูงจนแกร่งเหมือนหิน
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่า เซลาดอน ผลิตขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน ราวปลาย ราชวงศ์ถัง และต้นราชวงศ์ซ้อง ที่ต้าบลลุงฉวน มลฑลซีเกียง ราวช่วงคริสศตวรรษที่ 6-10 โดยใช้ ขี้เถ้าจากการเผาไหม้ ผสมกับดิน และหินฟันม้า เนื่องจากขี้เถ้ามีคุณสมบัติเป็นด่างจึงท้าหน้าที่ช่วย ให้เคลือบหลอมละลายได้ดี จากนั้นจีนได้พัฒนาการท้าเคลือบเซลาดอนเรื่อยมาจนดีขึ้นเป็นล้าดับ โดยเฉพาะเซลาดอนที่ผลิตจากเตาลุงฉวนนี้ ใช้เนื้อดินละเอียด สีขาวที่ช่วยเพิ่มความสดใสของ เคลือบให้ดูกระจ่าง และมีความลึก ภาชนะที่ผลิตจากเตาลุงฉวนนี้ มีลักษณะเนื้อแกร่งสีฟ้าอมเทา ผิวเคลือบมีลักษณะนุ่ม เรียบเนียนคล้ายผิวของหยก การตกแต่งมีทั้งการแกะลวดลาย การปั้นนูน และการกด ลวดลายในแบบพิมพ์แล้วน้ามาติดบนภาชนะ การผลิตเคลือบเซลาดอนในยุคแรกของ จีน เตาเผาเคลือบเซลาดอนจะถูกควบคุมโดยราชส้านัก และมีใช้กันเฉพาะในราชส้านักเทานั้น ความรู้เรื่องการท้าเคลือบเซลาดอนของจีนได้แพร่กระจายไปยังประเทศต่างๆที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี ญี่ปุ่น และไทย ภายหลังจีนได้ผลิตภาชนะเคลือบเซลาดอนเป็นสินค้าส่งออกไปจ้าหน่ายยัง ภูมิภาคต่างๆ และยุโรป
เกาหลีได้รับอิทธิพลการท้าเคลือบเซลาดอนจากจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ราวปลาย คริสศต วรรษที่ 10 โดยมีแหล่งการผลิตอยู่ที่ พูอัน กังจิน ที่อยู่ทางตอนใต้ของเกาหลี การผลิตในยุคแรกมี เพียงเคลือบสีเขียว กระทั่งสมัยราชวงศ์โคเรียว เกาหลีได้น้ารูปแบบแจกันทรงเหม่ผิงของจีนมา
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่า เซลาดอน ผลิตขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน ราวปลาย ราชวงศ์ถัง และต้นราชวงศ์ซ้อง ที่ต้าบลลุงฉวน มลฑลซีเกียง ราวช่วงคริสศตวรรษที่ 6-10 โดยใช้ ขี้เถ้าจากการเผาไหม้ ผสมกับดิน และหินฟันม้า เนื่องจากขี้เถ้ามีคุณสมบัติเป็นด่างจึงท้าหน้าที่ช่วย ให้เคลือบหลอมละลายได้ดี จากนั้นจีนได้พัฒนาการท้าเคลือบเซลาดอนเรื่อยมาจนดีขึ้นเป็นล้าดับ โดยเฉพาะเซลาดอนที่ผลิตจากเตาลุงฉวนนี้ ใช้เนื้อดินละเอียด สีขาวที่ช่วยเพิ่มความสดใสของ เคลือบให้ดูกระจ่าง และมีความลึก ภาชนะที่ผลิตจากเตาลุงฉวนนี้ มีลักษณะเนื้อแกร่งสีฟ้าอมเทา ผิวเคลือบมีลักษณะนุ่ม เรียบเนียนคล้ายผิวของหยก การตกแต่งมีทั้งการแกะลวดลาย การปั้นนูน และการกด ลวดลายในแบบพิมพ์แล้วน้ามาติดบนภาชนะ การผลิตเคลือบเซลาดอนในยุคแรกของ จีน เตาเผาเคลือบเซลาดอนจะถูกควบคุมโดยราชส้านัก และมีใช้กันเฉพาะในราชส้านักเทานั้น ความรู้เรื่องการท้าเคลือบเซลาดอนของจีนได้แพร่กระจายไปยังประเทศต่างๆที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี ญี่ปุ่น และไทย ภายหลังจีนได้ผลิตภาชนะเคลือบเซลาดอนเป็นสินค้าส่งออกไปจ้าหน่ายยัง ภูมิภาคต่างๆ และยุโรป
เกาหลีได้รับอิทธิพลการท้าเคลือบเซลาดอนจากจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ราวปลาย คริสศต วรรษที่ 10 โดยมีแหล่งการผลิตอยู่ที่ พูอัน กังจิน ที่อยู่ทางตอนใต้ของเกาหลี การผลิตในยุคแรกมี เพียงเคลือบสีเขียว กระทั่งสมัยราชวงศ์โคเรียว เกาหลีได้น้ารูปแบบแจกันทรงเหม่ผิงของจีนมา
โดย ผศ.ศุภกา ปาลเปรม
พัฒนา โดยปรับสัดส่วนของแจกันให้ดูอ่อนหวานมากขึ้น แต่ให้ความรู้สึกแข็งแกร่งและงดงาม โดย
ผสมผสานกับเทคนิคการใช้ดินสีขาว และสีด้า มาท้าการตกแต่งด้วยเทคนิคการขูดลวดลายแล้วถม
ดินสีขาว สีด้า ลงบนลวดลายที่ขูดไว้จนเต็ม แล้วเคลือบทับด้วยเคลือบเซลาดอน ใสสีเขียว หลังเผา
จะได้ภาชนะเคลือบสีเขียวใสคลุมพื้นภาชนะ และเกิดลวดลายที่มีน้้าหนักสีเขียวอ่อนไปจนถึงสี
เขียวเข้ม เนื่องจากบริเวณลวดลายที่ถมดินสีขาวจะเกิดค่าน้้าหนักสีเขียวอ่อน ส่วนบริเวณลวดลายที่
ถมดินสีด้า จะเกิดค่าน้้าหนักสีเขียวเข้ม และบริเวณที่เป็นเนื้อภาชนะจะเกิดเป็นค่าน้้าหนักสีเขียว
กลาง ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของเกาหลี และเรียกเทคนิคนี้ว่า “สังกัม” (Inlaid Celadon)
ญี่ปุ่น รับอิทธิพลการท้าเซลาดอนจากจีน ในราว คริสศตวรรษที่ 13 โดยมีเมือง เซโตะ เป็น
ศูนย์กลางกลางผลิตภาชนะเคลือบเซลาดอนแหล่งใหญ่ นอกจานี้ ญี่ปุ่น ยังรับอิทธิพลการท้าเคลือบ
เซลาดอนส่วนหนึ่งมาจากช่างปั้นเกาหลีที่อาศัยในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผลมาจากการถูกกวาดต้อนมาขณะ
ท้าสงคราม เคลือบเซลาดอนของญี่ปุ่นในยุคแรกเป็นภาชนะเคลือบใสสีน้้าตาล จากนั้นญี่ปุ่นได้
พัฒนาผสมผสาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของญี่ปุ่น
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ประเทศไทยเริ่มมีการผลิตภาชนะเคลือบเซลาดอน ในสมัยสุโขทัย ช่วงระหว่าง คริสศตวรรษที่ 13-15 สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลการท้าจากจีนเช่นกัน โดยมีแหล่งการผลิตแหล่งใหญ่อยู่ที่ สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และแพร่กระจายขึ้นไปทางภาคเหนือ เช่น แหล่งเตาสันก้าแพง แหล่งเตาเวียงกาหลง แหล่งเตาพะเยา และแหล่งเตาพาน จังหวัดเชียงราย เป็น ต้น รูปแบบเซลาดอนของไทยในสมัยสุโขทัย มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาชนะที่ผลิตจากเตาลุงฉวน ของจีนมาก ต่างกันที่ลักษณะรูปทรงภาชนะและลวดลายสีน้้าตาลที่เขียนบนพื้นสีขาว ซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของสุโขทัย นอกจากนี้ลักการใช้พู่กันเขียนลวดลายก็แตกต่างจากการเขียน ลวดลายแบบจีน ซึ่งช่างจีนมักใช้พู่กันเล่นสีตวัดเส้นอย่างมีความช้านาญตามแบบอย่างของจีน ส่วน ช่างไทยจะใช้วิธีเขียนแบบเลี้ยงเส้น ลวดลายที่นิยมเขียน ได้แก่ ลายปลา ลายดอกไม้ ลายจักร และ ลายสังข์ เป็นต้น นอกจาการเขียนลวดลายดังกล่าวแล้ว ยังมีการขูดแกะลวดลาย และปั้นนูนด้วย เช่นกัน การผลิตภาชนะเซลาดอน ของสุโขทัย ส่วนใหญ่ผลิตเป็นภาชนะใช้สอย ประเภท จาน ชาม และจากหลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่าสุโขทัย จากหลักฐาน มีการพบภาชนะเซลาดอนของ สุโขทัยตามแหล่งชุมชนต่างๆ จึงสันนิษฐานว่ามีการผลิตภาชนะเซลาดอนเป็นสินค้าจ้าหน่ายภาย ในประเทศ บริเวณรอบอ่าวไทย และยังส่งออกไปจ้าหน่ายยังประเทศใกล้เคียง เช่น ประเทศอินโด นีเซีย ประเทศฟิลิปินส์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ประเทศไทยเริ่มมีการผลิตภาชนะเคลือบเซลาดอน ในสมัยสุโขทัย ช่วงระหว่าง คริสศตวรรษที่ 13-15 สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลการท้าจากจีนเช่นกัน โดยมีแหล่งการผลิตแหล่งใหญ่อยู่ที่ สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และแพร่กระจายขึ้นไปทางภาคเหนือ เช่น แหล่งเตาสันก้าแพง แหล่งเตาเวียงกาหลง แหล่งเตาพะเยา และแหล่งเตาพาน จังหวัดเชียงราย เป็น ต้น รูปแบบเซลาดอนของไทยในสมัยสุโขทัย มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาชนะที่ผลิตจากเตาลุงฉวน ของจีนมาก ต่างกันที่ลักษณะรูปทรงภาชนะและลวดลายสีน้้าตาลที่เขียนบนพื้นสีขาว ซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของสุโขทัย นอกจากนี้ลักการใช้พู่กันเขียนลวดลายก็แตกต่างจากการเขียน ลวดลายแบบจีน ซึ่งช่างจีนมักใช้พู่กันเล่นสีตวัดเส้นอย่างมีความช้านาญตามแบบอย่างของจีน ส่วน ช่างไทยจะใช้วิธีเขียนแบบเลี้ยงเส้น ลวดลายที่นิยมเขียน ได้แก่ ลายปลา ลายดอกไม้ ลายจักร และ ลายสังข์ เป็นต้น นอกจาการเขียนลวดลายดังกล่าวแล้ว ยังมีการขูดแกะลวดลาย และปั้นนูนด้วย เช่นกัน การผลิตภาชนะเซลาดอน ของสุโขทัย ส่วนใหญ่ผลิตเป็นภาชนะใช้สอย ประเภท จาน ชาม และจากหลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่าสุโขทัย จากหลักฐาน มีการพบภาชนะเซลาดอนของ สุโขทัยตามแหล่งชุมชนต่างๆ จึงสันนิษฐานว่ามีการผลิตภาชนะเซลาดอนเป็นสินค้าจ้าหน่ายภาย ในประเทศ บริเวณรอบอ่าวไทย และยังส่งออกไปจ้าหน่ายยังประเทศใกล้เคียง เช่น ประเทศอินโด นีเซีย ประเทศฟิลิปินส์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น
ส่วนผสมของเคลือบเซลาดอนในยุคโบราณจะใช้ขี้เถ้าที่ได้จากไม้เป็นวัตถุดิบหลัก เนื่อง
จากขี้เถ้าไม้จะมีส่วนประกอบของธาตุที่เป็นด่างในปริมาณมาก ประกอบกับ อลูมินา และซิลิกา
ปริมาณเล็กน้อย ซึ่งขี้เถ้าพืชแต่ละชนิดจะมีองค์ประกอบของธาตุที่แตกต่างกันไป ดังนั้นขี้เถ้าพืช
เกือบทุกชนิดจึงหลอมลละลายได้ง่ายในอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียสขึ้นไป กลายเป็นเคลือบได้
ตามธรรมชาติ โดยสังเกตได้จากการเผาภาชนะในเตาฟืน ขี้เถ้าที่ได้จากการเผาไหม้จะปลิวไปเกาะ
บนผิวชิ้นงานและหลอมกลายเป็นแก้วฉาบติดอยู่บนผิวชิ้นงาน และเพื่อให้สามารถควบคุมให้
เคลือบหลอมละลายในระดับอุณหภูมิที่ต้องการ จึงได้น้าขี้เถ้ามาผสมกับวัตถุดิบอื่น เช่น หินฟันม้า
และดิน เป็นต้น
สูตรเคลือบเซลาดอนสมัยสุโขทัยเตรียมจาก ขี้เถ้าไม้ ผสมกับดินผิวนา ซึ่งในปัจจุบัน โรงงานที่ท้าผลิตภัณฑ์เซลาดอน ในจังหวัดเชียงใหม่ยังใช้อยู่ ได้แก่
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 1 (ศ.เสริมศักดิ์ นาคบัว :....) ขี้เถ้าไม้เนื้ออ่อน 25 %
ขี้เถ้าไม้เนื้อแข็ง 25 %
ดินผิวนา 50 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 2 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 149) ขี้เถ้าไม้ก่อ 15 %
สูตรเคลือบเซลาดอนสมัยสุโขทัยเตรียมจาก ขี้เถ้าไม้ ผสมกับดินผิวนา ซึ่งในปัจจุบัน โรงงานที่ท้าผลิตภัณฑ์เซลาดอน ในจังหวัดเชียงใหม่ยังใช้อยู่ ได้แก่
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 1 (ศ.เสริมศักดิ์ นาคบัว :....) ขี้เถ้าไม้เนื้ออ่อน 25 %
ขี้เถ้าไม้เนื้อแข็ง 25 %
ดินผิวนา 50 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 2 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 149) ขี้เถ้าไม้ก่อ 15 %
ขี้ไม้รกฟ้า 15 %
ดินผิวนา 20 %
เฟลด์สปาร์ 50 %
Red Iron oxide 1 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 3 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 150) ขี้เถ้าไม้ก่อ 30 %
ขี้ไม้รกฟ้า 10 %
ดินผิวนา 60 %
Red Iron oxide 1 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 4 (รศ.โกมล รักษ์วงศ์ : 186) ขี้เถ้าไม้ยางพารา 30 %
ดินเหนียวสุราษฎร์ 4%
หินปูน 11%
หินฟันม้า 53 %
Red Iron oxide 2 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 4 (รศ.โกมล รักษ์วงศ์ : 186) ขี้เถ้าไม้เบญจพรรณ 30 %
ขี้เถ้าเปลือกหอย 10 % ดินเหนียวบางระจัน 20 %
หินฟันม้า 40 % นอกจากสูตรเคลือบเซลาดอนที่เตรียมจากขี้เถ้าไม้เป็นส่วนผสมหลักและเผาในบรรยากาศ
รีดักชันแล้ว ยังมีผู้คิดค้นการท้าเคลือบเซลาดอนที่น่าจะเรียกว่าเซลาดอนเทียม หมายถึงเคลือบสี เขียวที่เผาในบรรยากาศแบบออกซิเดชัน โดยใช้ Copper oxide หรือ Copper carbonate เป็นสารให้ สี ได้แก่ ตัวอย่างสูตรเคลือบดังต่อไปนี้
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 5 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 151) โพแทสเฟลด์สปาร์ 25 %
หินปูน 28% โดโลไมท์ 3% ดินขาว 27%
ดินผิวนา 20 %
เฟลด์สปาร์ 50 %
Red Iron oxide 1 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 3 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 150) ขี้เถ้าไม้ก่อ 30 %
ขี้ไม้รกฟ้า 10 %
ดินผิวนา 60 %
Red Iron oxide 1 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 4 (รศ.โกมล รักษ์วงศ์ : 186) ขี้เถ้าไม้ยางพารา 30 %
ดินเหนียวสุราษฎร์ 4%
หินปูน 11%
หินฟันม้า 53 %
Red Iron oxide 2 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 4 (รศ.โกมล รักษ์วงศ์ : 186) ขี้เถ้าไม้เบญจพรรณ 30 %
ขี้เถ้าเปลือกหอย 10 % ดินเหนียวบางระจัน 20 %
หินฟันม้า 40 % นอกจากสูตรเคลือบเซลาดอนที่เตรียมจากขี้เถ้าไม้เป็นส่วนผสมหลักและเผาในบรรยากาศ
รีดักชันแล้ว ยังมีผู้คิดค้นการท้าเคลือบเซลาดอนที่น่าจะเรียกว่าเซลาดอนเทียม หมายถึงเคลือบสี เขียวที่เผาในบรรยากาศแบบออกซิเดชัน โดยใช้ Copper oxide หรือ Copper carbonate เป็นสารให้ สี ได้แก่ ตัวอย่างสูตรเคลือบดังต่อไปนี้
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 5 (รศ.ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์ : 151) โพแทสเฟลด์สปาร์ 25 %
หินปูน 28% โดโลไมท์ 3% ดินขาว 27%
ซิลิกา 17%
คอปเปอร์ออกไซด์ 0.5 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 6 (ผศ.ศุภกา ปาลเปรม ) เนฟฟารีน ไซยาไนท์ 90 %
แบเรียมคาร์บอเนต 5% แคลเซียมคาร์บอเนต 5% คอปเปอร์ออกไซด์ 0.5 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 7 (ผศ.ศุภกา ปาลเปรม ) เนฟฟารีน ไซยาไนท์ 35 %
ซิลิกา 35%
โดโลไมท์ 15 % แคลเซียมคาร์บอเนต 4%
ซิงค์ ออกไซด์ 3 % ดินขาว 8 %
คอปเปอร์ออกไซด์ 0.5% สีเขียวของเคลือบเซลาดอนเกิดจากธาตุเหล็กที่อาจผสมอยู่ในขี้เถ้าพืช หรือในดินที่ใช้เป็น
ส่วนผสมของเคลือบ หรืออาจเป็นแร่เหล็ก (Iron oxide) ที่เติมลงไปในส่วนผสมของเคลือบเพื่อเพิ่ม ความเข้มของสีเคลือบ โดยปกติแร่เหล็กที่ใช้ผสมเคลือบถ้าเผาในบรรยากาศออกซิเดชัน(Oxidation) จะให้สีน้้าตาลเหลือง น้้าตาลอ่อน ไปจนถึงน้้าตาลเข้ม และแดงเลือดนก ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ใช้ผสม และถ้าเผาในบรรยากาศรีดักชัน (Reduction) จะให้สีเขียวอ่อนไปจนถึงสีเขียวเข้ม และสีน้้าตาลเทม โมกุ (Temmoku) การเปลี่ยนจากสีน้้าตาลเป็นสีเขียวนั้นเนื่องจากเหล็กเกิดการเปลี่ยนรูปจาก Ferric ไปเป็น Ferrous ดังสมการต่อไปนี้
Fe2O3 + CO 2FeO + CO2 หรือ Red Iron oxide + Carbon monoxide Black Iron oxide + Carbon dioxide
ลักษณะผิวเคลือบเซลาดอน จะมีตั้งแต่ ผิวทึบกึ่งด้านกึ่งมัน ไปจนกระทั่งใสเหมือนแก้ว ซึ่ง ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของเคลือบ และระดับอุณหภูมิที่เผา สีเขียวของเคลือบเซลาดอน จะใช้ เหล็กออก ไซด์ผสมในเคลือบ ปริมาณ 1-2 % จะให้สีเขียวอ่อน หรือสีฟ้าอ่อน ถ้าผสมเหล็กออกไซด์ในเคลือบ
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 6 (ผศ.ศุภกา ปาลเปรม ) เนฟฟารีน ไซยาไนท์ 90 %
แบเรียมคาร์บอเนต 5% แคลเซียมคาร์บอเนต 5% คอปเปอร์ออกไซด์ 0.5 %
เคลือบเซลาดอนสูตรที่ 7 (ผศ.ศุภกา ปาลเปรม ) เนฟฟารีน ไซยาไนท์ 35 %
ซิลิกา 35%
โดโลไมท์ 15 % แคลเซียมคาร์บอเนต 4%
ซิงค์ ออกไซด์ 3 % ดินขาว 8 %
คอปเปอร์ออกไซด์ 0.5% สีเขียวของเคลือบเซลาดอนเกิดจากธาตุเหล็กที่อาจผสมอยู่ในขี้เถ้าพืช หรือในดินที่ใช้เป็น
ส่วนผสมของเคลือบ หรืออาจเป็นแร่เหล็ก (Iron oxide) ที่เติมลงไปในส่วนผสมของเคลือบเพื่อเพิ่ม ความเข้มของสีเคลือบ โดยปกติแร่เหล็กที่ใช้ผสมเคลือบถ้าเผาในบรรยากาศออกซิเดชัน(Oxidation) จะให้สีน้้าตาลเหลือง น้้าตาลอ่อน ไปจนถึงน้้าตาลเข้ม และแดงเลือดนก ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ใช้ผสม และถ้าเผาในบรรยากาศรีดักชัน (Reduction) จะให้สีเขียวอ่อนไปจนถึงสีเขียวเข้ม และสีน้้าตาลเทม โมกุ (Temmoku) การเปลี่ยนจากสีน้้าตาลเป็นสีเขียวนั้นเนื่องจากเหล็กเกิดการเปลี่ยนรูปจาก Ferric ไปเป็น Ferrous ดังสมการต่อไปนี้
Fe2O3 + CO 2FeO + CO2 หรือ Red Iron oxide + Carbon monoxide Black Iron oxide + Carbon dioxide
ลักษณะผิวเคลือบเซลาดอน จะมีตั้งแต่ ผิวทึบกึ่งด้านกึ่งมัน ไปจนกระทั่งใสเหมือนแก้ว ซึ่ง ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของเคลือบ และระดับอุณหภูมิที่เผา สีเขียวของเคลือบเซลาดอน จะใช้ เหล็กออก ไซด์ผสมในเคลือบ ปริมาณ 1-2 % จะให้สีเขียวอ่อน หรือสีฟ้าอ่อน ถ้าผสมเหล็กออกไซด์ในเคลือบ
ปริมาณ 4-6 % จะให้สีเขียวเข้มอมน้้าตาล หรือสีเขียวขี้ม้า ถ้าผสมเหล็กออกไซด์ในเคลือบปริมาณ
10-15 % จะให้เคลือบสีน้้าตาลด้าเทมโมกุ
รอยรานของผิวเคลือบเซลาดอน เกิดขึ้นเนื่องจาก สัมประสิทธิ์การหดขยายตัวระหว่างเนื้อ ดินปั้นและน้้าเคลือบแตกต่างกัน และเนื่องจากในส่วนผสมของเคลือบเซลาดอนจะมีสารจ้าพวกด่าง ผสมอยู่ในปริมาณมาก มีผลให้เคลือบเกิดการขยายตัวหลังการเผาสูง จึงมักปรากฏมีรอยรานเกิดขึ้น ในผิวเคลือบเซลาดอนเสมอ และช่างปั้นอาจใช้เทคนิคการฝังสีลงตามรอยรานด้วยวิธีต่างๆ เช่น ใช้ หมึกจีนป้ายตามรอยรานของเคลือบ หรือใช้หมักภาชนะไว้ในกากใบชา หรืใช้น้้าเชื่อมทาลงในรอย รานแล้วน้าไปอบที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส แล้วน้ามาล้างคราบน้้าตาลที่ไหม้ออกให้หมด ขนาดรอยรานของเคลือบขึ้นกับความหนา บางในการเคลือบด้วย เช่น หากเคลือบบางรอยรานจะมี ความละเอียดกว่าเคลือบหนา
ผลิตภัณฑ์เคลือบเซลาดอนของไทย ในปัจจุบันการพัฒนายังไม่ค่อยได้รับคามสนใจจาก ผู้บริโภคมากนัก ซึ่งสังเกตได้จากผลิตภัณฑ์เคลือบเซลาที่ผลิตออกจ้าหน่ายตามท้องตลาดทั่วไป ส่วนใหญ่จะพบว่ารูปลักษณ์ไม่ค่อยเปลี่ยนไปจากเดิมเท่าใดนัก คือเป็นแนวอนุรักษ์ ซึ่งผู้เขียนคิดว่า หากมีการพัฒนาให้มีความร่วมสมัยมากขึ้น และสามารถน้าไปใช้ประดับตกแต่งให้เข้ากับที่อยู่อาศัย สมัยใหม่ได้ จะเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคกลับมาให้ความสนใจมากขึ้น
บรรณานุกรม
โกมล รักษ์วงศ์, เอกสารคาสอน วิชา 552 4501 นาเคลือบ 2 , ภาควิชาเครื่องปั้นดินเผา คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมสถาบนั ราชภฏั พระนคร:กรุงเทพฯ,2538
สุรพล ด้าริห์กุล, เครื่องปั้นดินเผา มรดกไทย, สตาร์ปริ๊น จ้ากัด: กรุงเทพฯ, 2542.
เปี่ยมสุข เหรียญรุ่งเรือง, เอกสารประกอบการสอน : ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา, มปป
ศุภกา ปาลเปรม, เอกสารประกอบการสอน วิชา 365 108 เคลือบ, 1ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร:กรุงเทพฯ,2547
ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์, รวมสูตรเคลือบเซรามิกส์ : กรุงเทพฯ, โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส์, 2537
เสริมศักดิ์ นาคบัว, เตาเผาเครื่องเคลือบดินเผาทางภาคเหนือของประเทศไทย : กรุงเทพฯ, คณะมัณฑนศิลป์
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร,2512
Hamer Frank, The Potter’s Dictionary of Material and Technique. London: Pitman Publishing, 1975 Grebanier Joseph, Chinese Stoneware Glazes, London: Pitman Publishing, 1977
Rhodes Daniel, Clay and Glazes for the Potter, United States of America: Krause Publications, 2000 www.artsmia.org , 22/10/2551
www.korean-arts.com , 21/10/2551
www.metmuseum.org , 14/10/2551
www.21ceramic.com , 19/8/2551
รอยรานของผิวเคลือบเซลาดอน เกิดขึ้นเนื่องจาก สัมประสิทธิ์การหดขยายตัวระหว่างเนื้อ ดินปั้นและน้้าเคลือบแตกต่างกัน และเนื่องจากในส่วนผสมของเคลือบเซลาดอนจะมีสารจ้าพวกด่าง ผสมอยู่ในปริมาณมาก มีผลให้เคลือบเกิดการขยายตัวหลังการเผาสูง จึงมักปรากฏมีรอยรานเกิดขึ้น ในผิวเคลือบเซลาดอนเสมอ และช่างปั้นอาจใช้เทคนิคการฝังสีลงตามรอยรานด้วยวิธีต่างๆ เช่น ใช้ หมึกจีนป้ายตามรอยรานของเคลือบ หรือใช้หมักภาชนะไว้ในกากใบชา หรืใช้น้้าเชื่อมทาลงในรอย รานแล้วน้าไปอบที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส แล้วน้ามาล้างคราบน้้าตาลที่ไหม้ออกให้หมด ขนาดรอยรานของเคลือบขึ้นกับความหนา บางในการเคลือบด้วย เช่น หากเคลือบบางรอยรานจะมี ความละเอียดกว่าเคลือบหนา
ผลิตภัณฑ์เคลือบเซลาดอนของไทย ในปัจจุบันการพัฒนายังไม่ค่อยได้รับคามสนใจจาก ผู้บริโภคมากนัก ซึ่งสังเกตได้จากผลิตภัณฑ์เคลือบเซลาที่ผลิตออกจ้าหน่ายตามท้องตลาดทั่วไป ส่วนใหญ่จะพบว่ารูปลักษณ์ไม่ค่อยเปลี่ยนไปจากเดิมเท่าใดนัก คือเป็นแนวอนุรักษ์ ซึ่งผู้เขียนคิดว่า หากมีการพัฒนาให้มีความร่วมสมัยมากขึ้น และสามารถน้าไปใช้ประดับตกแต่งให้เข้ากับที่อยู่อาศัย สมัยใหม่ได้ จะเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคกลับมาให้ความสนใจมากขึ้น
บรรณานุกรม
โกมล รักษ์วงศ์, เอกสารคาสอน วิชา 552 4501 นาเคลือบ 2 , ภาควิชาเครื่องปั้นดินเผา คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมสถาบนั ราชภฏั พระนคร:กรุงเทพฯ,2538
สุรพล ด้าริห์กุล, เครื่องปั้นดินเผา มรดกไทย, สตาร์ปริ๊น จ้ากัด: กรุงเทพฯ, 2542.
เปี่ยมสุข เหรียญรุ่งเรือง, เอกสารประกอบการสอน : ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา, มปป
ศุภกา ปาลเปรม, เอกสารประกอบการสอน วิชา 365 108 เคลือบ, 1ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร:กรุงเทพฯ,2547
ไพรจิตร อิ่งศิริวัฒน์, รวมสูตรเคลือบเซรามิกส์ : กรุงเทพฯ, โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส์, 2537
เสริมศักดิ์ นาคบัว, เตาเผาเครื่องเคลือบดินเผาทางภาคเหนือของประเทศไทย : กรุงเทพฯ, คณะมัณฑนศิลป์
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร,2512
Hamer Frank, The Potter’s Dictionary of Material and Technique. London: Pitman Publishing, 1975 Grebanier Joseph, Chinese Stoneware Glazes, London: Pitman Publishing, 1977
Rhodes Daniel, Clay and Glazes for the Potter, United States of America: Krause Publications, 2000 www.artsmia.org , 22/10/2551
www.korean-arts.com , 21/10/2551
www.metmuseum.org , 14/10/2551
www.21ceramic.com , 19/8/2551
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น